วันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555

บทที่7


การสร้างต้นแบบจำลองของ Software

System Modeling การสร้างตัวต้นแบบ

    การสร้างตัวต้นแบบมีวัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เข้าใจว่าหน้าที่หลักของระบบทำงานอย่างไร ผู้ที่ควรจะต้องเข้าใจถึงกระบวนการคือ SAเจ้าของระบบ User Programmer
  2. เพื่อให้สามารถอธิบายได้ว่าระบบเก่าและระบบใหม่มีความแตกต่างกันอย่างไร โดยแบ่งออกเป็น 
          3 มุมมองได้แก่
  1. มุมมองภาพรวมของระบบ
  2. มุมมองพฤติกรรมของระบบ
  3. มุมมองโครงสร้างของระบบ 

Model Types ประเภทของตัวต้นแบบ
  1. DATE PROCESSING MODEL แบบจำลองแสดงการประมวลผลข้อมูล จะอธิบายพฤติกรรมของระบบ
  2. COMPOSITION MODEL แบบจำลองอธิบายองค์ประกอบของ ENTITIES
  3. ARCHITECTURAL MODEL อธิบายสถาปัตยกรรมของระบบ โดยจะแสดงให้เห็นถึงระบบย่อยภายในด้วย
  4. CLASSIFICATION MODEL อธิบายการจัดแบ่งประเภทของ ENTITIES
  5. STIMULUS/RESPONSE MODEL อธิบายตัวกระตุ่นหรือสิ่งกระตุ้น

Context Model
            แสดงขอบเขตของระบบ ว่ามีการเชื่อมโยงกับระบบอื่นๆ อย่างไร context models จะเน้นขอบเขตของระบบ ไม่เน้นรายระเอียดของระบบ

     ตัวอย่าง Context model ของระบบ ATM


จาก Context Model ของระบบ ATM สามารถอธิบายได้ดังนี้ Model นี้ใช้แสดงขอบเขตการทำงานของระบบ ATM ซึ่งมีแต่ส่วนตรงกลางเท่านั้นที่เป็น Context ซึ่งระบบนี้มีขอบเขตการทำงานที่เชื่อมต่อกับระบบย่อยอื่นๆ อีก 6 ระบบดังรูป

Behavioral models แบบจำลองพฤติกรรม แบ่งเป็น 2 รูปแบบ
1. Data processing เน้น DFD เน้นแสดงกระบวนการทำงานของระบบ

ตัวอย่าง Order Processing DFD มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน สามารถอธิบายได้ดังรูป


2. State machine models เน้นสถานการณ์เปลี่ยนแปลงสถานะของอุปกรณ์ทางด้านวิศวกรรมที่สร้างขึ้น

             ตัวอย่าง Microwave oven model มีทั้งหมด 8 State สามารถอธิบายได้ดังรูป


Object behavior modeling
      ใช้อธิบายพฤติกรรมของระบบโดยใช้แบบจำลอง Sequence diagram หรือ collaboration diagram

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น